เผยความจริง ที่ทำให้ วอร์เรน บัฟเฟตต์ คือชายที่รวยที่สุดในโลก

“คุณต้องเข้าใจบัญชี  และต้องเข้าใจความแตกต่างเล็กๆ น้อยๆ ในบัญชี  บัญชีคือภาษาของธุรกิจ  แต่เป็นภาษาที่ไม่สมบูรณ์  

ตราบใดที่คุณไม่มีความตั้งใจ  ที่จะเรียนรู้และเข้าใจบัญชี  วิธีการอ่านและตีความหมายของงบการเงิน…จงอย่าเลือกหุ้นด้วยตัวคุณเอง “

        ในกลางทศวรรษที่ 60 วอร์เรนได้หยุดพิจารณากลยุทธ์การลงทุนของเบนจามิน  เกรแฮม ใหม่ ซึ่งทำให้เขาพบกับความจริงเหลือเชื่อ 2 ประการ เกี่ยวกับว่า บริษัทประเภทใดที่ดีที่สุดในการลงทุน  และจะทำเงินให้ได้มากที่สุดในระยะยาว  ผลโดยตรงจากการค้นพบนี้ก็คือ  วอร์เรน ได้เปลี่ยนกลยุทธ์การลงทุนแบบเน้นคุณค่า  (Value investment) ตามแนวคิดของเกรแฮมซึ่งเขาใช้อยู่จนถึงขณะนั้น  และได้สร้างกลยุทธ์การลงทุนเพื่อความมั่งคั่งที่ยอดเยี่ยมที่สุดในโลกเท่าที่เคยมี

          วัตถุประสงค์ของหนังสือเล่มนี้ก็คือ  สำรวจความจริง  2 ประการที่  วอร์เรนได้พบ คือ

  1. วิธีการบ่งชี้บริษัทชั้นยอดที่มีความได้เปรียบในการแข่งขันที่ยั่งยืน
  2. วิธีการในการประเมินมูลค่าของบริษัทที่มีความได้เปรียบในการแข่งขันที่ยั่งยืน  

           เพื่อจะอธิบายว่า  กลยุทธ์สุดพิเศษของวอร์เรนทำงานอย่างไรและเขาใช้กลยุทธ์ของเขากับงบการเงินอย่างไร  จึงทำให้เขาเป็นคนรวยที่สุดในโลก

เผยความจริง ที่ทำให้ วอร์เรน บัฟเฟตต์ คือชายที่รวยที่สุดในโลก

“คุณต้องเข้าใจบัญชี  และต้องเข้าใจความแตกต่างเล็กๆ น้อยๆ ในบัญชี  บัญชีคือภาษาของธุรกิจ  แต่เป็นภาษาที่ไม่สมบูรณ์  

ตราบใดที่คุณไม่มีความตั้งใจ  ที่จะเรียนรู้และเข้าใจบัญชี  วิธีการอ่านและตีความหมายของงบการเงิน…จงอย่าเลือกหุ้นด้วยตัวคุณเอง “

        ในกลางทศวรรษที่ 60 วอร์เรนได้หยุดพิจารณากลยุทธ์การลงทุนของเบนจามิน  เกรแฮม ใหม่ ซึ่งทำให้เขาพบกับความจริงเหลือเชื่อ 2 ประการ เกี่ยวกับว่า บริษัทประเภทใดที่ดีที่สุดในการลงทุน  และจะทำเงินให้ได้มากที่สุดในระยะยาว  ผลโดยตรงจากการค้นพบนี้ก็คือ  วอร์เรน ได้เปลี่ยนกลยุทธ์การลงทุนแบบเน้นคุณค่า  (Value investment) ตามแนวคิดของเกรแฮมซึ่งเขาใช้อยู่จนถึงขณะนั้น  และได้สร้างกลยุทธ์การลงทุนเพื่อความมั่งคั่งที่ยอดเยี่ยมที่สุดในโลกเท่าที่เคยมี

          วัตถุประสงค์ของหนังสือเล่มนี้ก็คือ  สำรวจความจริง  2 ประการที่  วอร์เรนได้พบ คือ

  1. วิธีการบ่งชี้บริษัทชั้นยอดที่มีความได้เปรียบในการแข่งขันที่ยั่งยืน
  2. วิธีการในการประเมินมูลค่าของบริษัทที่มีความได้เปรียบในการแข่งขันที่ยั่งยืน  

           เพื่อจะอธิบายว่า  กลยุทธ์สุดพิเศษของวอร์เรนทำงานอย่างไรและเขาใช้กลยุทธ์ของเขากับงบการเงินอย่างไร  จึงทำให้เขาเป็นคนรวยที่สุดในโลก

เทคนิคในการบริหารพอร์ตหุ้นที่มี P/E ต่ำ แบบจอห์น เนฟฟ์ ( john neff )

           แม้เราจะได้เรียนรู้คุณลักษณะของหุ้น P/E ในแบบของ  จอห์น  เนฟฟ์ซึ่งมีประโยชน์ในการคัดเลือกหุ้นเข้าพอร์ตโฟลิโอมาแล้ว  แต่การบริหารพอร์ตโฟลิโอไม่ได้มีเฉพาะการคัดเลือกหุ้นเท่านั้น  แต่ยังรวมถึงการติดตาม  ปรับพอร์ตเอาหุ้นเดิมที่ไม่เป็นไปตามคุณสมบัติออกไป  เอาหุ้นใหม่ที่เหมาะสมกว่าเข้ามาโดย โดย จอห์น  เนฟฟ์  ได้แนะนำเทคนิคในการบริหารพอร์ตเพิ่มเติมไว้ดังนี้

เทคนิคการจัดกลุ่มหุ้นแบบ Measured  Participation

        จอห็น  เนฟฟ์  ได้เสนอมิติการแบ่งกลุ่มหุ้นโดยไม่สนใจประเภทอุตสาหกรรม  แต่แบ่งตามการเติบโตของกำไร  โดยแบ่งหุ้นออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

  • กล่มที่มีอัตรากการเติบโตและเป็นที่นิยม (Highly Recognized Growth : HRG )
  • กลุ่มที่มีอัตราการเติบโต  แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม (Less Recognized Growth : LRG)
  • กลุ่มที่มีอัตราการเติบโตปานกลาง (Moderate Growth : MG)
  • กลุ่มที่อัตราการเติบโตตามภาวะเศรษฐกิจ  หรือ หุ้นวัฏจักร (Cyclical Growth : CG)

         จอห์น  เนฟฟ์  แนะนำว่า “หุ้นกลุ่ม HRG” มักมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงผู้บริโภครู้จักและจำชื่อสินค้าของบริษัทเหล่านี้ได้ดี  บริษัทมีอัตราการเติบโตของผลประกอบการและกำไรสูง  มีความมั่นคง มัำเป็นผู้นำตลาด นักลงทุนส่วนใหญ่ต่างต้องการเป็นเจ้าของหุ้น HRG เกือบทั้งนั้น  ความนิยมทำให้ราคาหุ้นกลุ่มนี้มักอยู่ในกลุ่มดัชนีหุ้นชั้นนำของตลาด และราคาก็มักสูง (ทำให้ P/E สูงด้วย) นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ให้ฉายาหุ้น HRG ว่า “One-dicision Stock” คือ ให้ซื้อและถือตลอดไป  โดยมีสมมติฐานว่า  บริษัท HRG เหล่านี้มีการเติบโตของกำไรอย่างไม่จำกัด  ในขณะที่จำนวนหุ้นมีจำกัด  นักลงทุนส่วนใหญ่จึงเชื่อว่า  ราคาคงจะเพิ่มไปอย่างต่อเนื่อง  ซึ่งจะเกิดอย่างนี้ได้ต้องมีนักลงทุนหน้าใหม่ที่เชื่อคนง่ายเข้ามาในตลาดเพิ่มขึ้นโดยไม่มีขีดจำกัดเช่นกัน  จอห์น  เนฟฟ์ ยกตัวอย่างหุ้นในดัชนี Nifty Fifty ซึ่งมี P/E สูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่หุ้น P/E ต่ำ  ไม่มีใครสนใจเลยจนหว่าจะเกิดความตกต่ำในตลาดหุ้น  ผู้คนที่บาดเจ็บจากหุ้น HRG จึงจะหันมาสนใจหุ้น P/E ต่ำ  ที่มีการเติบโตของกำไรดี แต่ไม่มีใครสนใจ (LPG) อย่างไรก็ดีกองทุน Windsor ก็ลงทุนในกลุ่ม HRG บ้าง โดยมีสัดส่วนประมาณ 8-9% ของมูลค่าการลงทุน

       ถัดมาเป็น “หุ้นกลุ่ม LRG” โดยจอห์น  เนฟฟ์  แนะนำว่า  ขณะที่คนสนใจแต่หุ้น HRG ทำให้เรามีตัวเลือกมากมาย  สำหรับพอร์ตการลงทุน P/E ต่ำของเราที่จริงแล้วบริษัทเหล่านี้มีอัตราการเติบโตของกำไรดีไม่น้อยกว่าของกลุ่ม HRG เพียงแต่ขาดวิสัยทัศน์  และขนาดไม่ใหญ่พอที่จะทำให้เกิดความสนใจในบางช่วงของการลงทุน  สัดส่วนการลงทุนในหุ้น LRG ของกองทุน Windsor สูงถึง 33% โดยสัดส่วนที่เหมาะสมที่ จอห์น  เนฟฟ์ แนะนำไว้อยู่ที่ประมาณ 25 %

       ส่วน “หุ้นกลุ่ม MG” จอห์น  เนฟฟ์ อธิบายว่า  เป็นหุ้นที่มีจำนวนมากที่สุดในตลาด  แต่ด้วยผลการดำเนินงานที่ไม่ค่อยโดดเด่น  นักลงทุนจึงไม่นิยมลงทุนและ P/E ก็มักจะต่ำ  ถ้าสามารถวิเคราะห์ค้นหาหุ้นที่มีพื้นฐานดี และมีอนาคต P/E ของหุ้นกลุ่มนี้สามารถปรับเพิ่มขึ้น  และจำทำให้เกิดกำไรมา  ซึ่งกองทุน Windsor ลงทุนในกลุ่มนี้ ประมาณ 50% ของพอร์ตทั้งหมด

      สุดท้าย คือ “หุ้นกลุ่ม CG” จะมีการเติบโตของกำไรในอัตราเฉลี่ย  โดยในช่วงเศรษฐกิจขาขึ้น  การเติบโตของกำไรจะสูงกว่าค่าเฉลี่ย  แต่ในช่วงวัฏจักรขาลง  กำไรจะเติบโตน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของตลาด P/E ของหุ้นกลุ่มนี้จะผันผวนขึ้นๆ ลงๆ ซึ่งบริษัทที่ดีในกลุ่ม CG และมี P/E ต่ำ ก็ยังมีให้คัดเลือกอยู่เสมอ  ดังนั้น  กลยุทธ์การซื้อและขายหุ้นกลุ่มนี้จึงมีความสำคัญมาก

       กองทุน Windsor จะเข้าซื้อหุ้นกลุ่มนี้ก่อนที่กำไรจะปรับตัวเพิ่มขึ้น 6-9 เดือน และขายเมื่อมีสัญญานว่า ความต้องการในสินค้าและบริการของบริษัทเหล่านี้มีการขยายตัวอย่างชัดเจน  เช่น  ดูจากการเพิ่มขึ้นของยอดขายและกำไรโดยเฉลี่ยแล้ว  กองทุน Windsor จะมีหุ้นวัฏจักรอยู่ประมาณ 30%

เทคนิคการกำหนดจำนวนหุ้นในพอร์ต 

           ในขณะที่กองทุน Windsor บริหารเงินทุน 11 พันล้านเหรียฐ กองทุนนี้ลงทุนในหุ้นเพียง 60 บริษัท และ 40% ของเงินกองทุน ลงทุนในหุ้นเพียง 10 บริษัทเท่านั้น และเมื่อเจาะลึกลงไป 25% ของมูลค่าเงินลงทุน  ลงในบริษัทน้ำมันเพียง 3 แห่งเท่านั้น ดังนั้น จึงไม่จำเป็นที่จะต้องให้พอร์ตมีจำนวนหุ้นมากเกินไป

เทคนิคการวิเคราะห์หุ้น

            นักลงทุนมักจะสับสนว่า  ควรเลือกใช้วิธี Top-down คือ วิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจากเศรษฐกิจ  อุตสาหกรรม  ลงไปหาตัวบริษัท หรือจะใช้วิธี Bottom-up คือ วิเคราะห์ที่บริษัทก่อน แล้วค่อยดูว่าบริษัทที่ดีเหล่านี้มีปัจจัยแวดล้อมด้านอุตสาหกรรม  เศรษฐกิจ  สนับสนุนหรือไม่ จอห์น เนฟฟ์ ให้ความเห็นว่าจะใช้วิธีอะไรก็ได้  จะดูอะไรก่อนหลังก่อนก็ได้  แต่ต้องดูควบคู่กันไป

เทคนิคการสร้างฐานข้อมูลเพื่อติดตามและตัดสินใจ

           ในการสร้างและบริหารพอร์ต P/E ต่ำ จอห์น  เนฟฟ์ สร้าง Fact Sheet เพื่อช่วยวิเคราะห์และติดตามหุ้นอย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่เขาสนใจ  ได้แก่ จำนวนหุ้นที่ลงทุน  ต้นทุนเฉลี่ย  ราคาปัจจุบัน  กำไรต่อหุ้น  และประมาณการอัตราการเติบโตทั้งในอดีตและที่คาดการณ์ P/E ในอดีตและที่คาดการณ์ผลตอบแทนจากเงินปันผล (Yield) ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ราคาเป้าหมายบนพื้นฐานของกำไรที่คาดการณ์ P/E เป้าหมาย  ตลอดจนโอกาสและศักยภาพที่ราคาจะปรับตัวสูงขึ้น  ซึ่งข้อมูลหลายตัวข้างต้น เป็นข้อมูลที่หาได้ง่าย  เพราะมีการเปิดเผยต่อสาธารณะอยู่แล้ว

เทคนิคการขายหุ้นจากพอร์ต

           จอห์น  เนฟฟ์  กำหนดลักษณะของการขายหุ้นออกจากพอร์ต  ดังนี้ 
  • ปัจจัยพื้นฐานแย่ลง
  • ราคาเท่ากับราคาเป้าหมายที่กำหนด

          การลดลงหรือแย่ลงของปัจจัยพื้นฐานจะพิจารณาจากเกณฑ์ 2 ประการ คือ “กำไรที่คาดการณ์”  และ “อัตราการเติบโต 5 ปี” หากเราไม่มั่นใจในปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้  ให้ขายหุ้นออกทันที  อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าปัจจัยพื้นฐานยังดีแต่ถ้าราคาหุ้นสูงขึ้นไปเท่ากับราคาเป้าหมายที่ตั้งไว้  ก็สามารถขายหุ้นจากพอร์ต  เพื่อนำรายได้และกำไรมาลงทุนกับหุ้นตัวใหม่ตามเกณฑ์ที่กำหนดต่อไป ( Reinvestment ) โดยเฉลี่ยแล้วถ้าปัจจัยพื้นฐานของหุ้นยังดี  กองทุน Windsor สามารถถือหุ้นไปนานถึง 3-5 ปี โดยอาจแบ่งขายทำกำไรบ้างระหว่างช่วงเวลาลงทุน จอห์น เนฟฟ์ เตือนว่าการถือหุ้นนานเกินไป  ก็อาจเป็นปัญหาได้ เพราะอาจเกิดสถานการณ์ “ตกหลุมรัก” หุ้นในพอร์ตจนลืมจังหวะการขายออก เพื่อทำกำไรในช่วงเวลาที่เหมาะสม  จงจำไว้ว่า “หุ้นทุกตัวที่เราเป็นเจ้าของ  มีไว้เพื่อขายทั้งสิ้น” และ “ไม่จำเป็นต้องซื้อและถือหุ้นตลอดไป”


        ฝากทิ้งท้ายไว้สักนิดว่า  การลงทุนในหุ้นแบบ P/E ต่ำ เป็นกลยุทธ์การลงทุนชนิดหนึ่ง  ซึ่งมีลักษณะค่อนข้างอนุรักษ์นิยม  ไม่หวือหวา  จอห์น  เนฟฟ์ เองก็เห็นว่าหลักการดังกล่าวนี้เป็นการกระทำซ้ำๆ คงเส้นคงว่า  สิ่งที่เหมือนกับการวิเคราะห์หลักทรัพย์ในกลยุทธ์อื่นๆ ก็คือ “การค้นหาหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานดี” แต่สิ่งที่ต่างจากคนอื่นก็คือ “พยายามค้นหาของดี  ราคาถูก” และ “เป็นของที่คาดการณ์แล้วว่าจะมีการเติบโตของกำไรที่ดีอย่างต่อเนื่อง” จนส่งผลในทางบวกต่อผลตอบแทนจากการลงทุนในอนาคต  หากท่านนักลงทุนอ่านแล้วคิดว่าชอบสไตล์การลงทุนแบบนี้  ลองนำหลักการไปสร้างและบริหารพอร์ตลงทุนด้วยตนเองได้เลยคับ  ขอให้ทุกท่านโชคดีคับ

เทคนิคในการบริหารพอร์ตหุ้นที่มี P/E ต่ำ แบบจอห์น เนฟฟ์ ( john neff )

           แม้เราจะได้เรียนรู้คุณลักษณะของหุ้น P/E ในแบบของ  จอห์น  เนฟฟ์ซึ่งมีประโยชน์ในการคัดเลือกหุ้นเข้าพอร์ตโฟลิโอมาแล้ว  แต่การบริหารพอร์ตโฟลิโอไม่ได้มีเฉพาะการคัดเลือกหุ้นเท่านั้น  แต่ยังรวมถึงการติดตาม  ปรับพอร์ตเอาหุ้นเดิมที่ไม่เป็นไปตามคุณสมบัติออกไป  เอาหุ้นใหม่ที่เหมาะสมกว่าเข้ามาโดย โดย จอห์น  เนฟฟ์  ได้แนะนำเทคนิคในการบริหารพอร์ตเพิ่มเติมไว้ดังนี้

เทคนิคการจัดกลุ่มหุ้นแบบ Measured  Participation

        จอห็น  เนฟฟ์  ได้เสนอมิติการแบ่งกลุ่มหุ้นโดยไม่สนใจประเภทอุตสาหกรรม  แต่แบ่งตามการเติบโตของกำไร  โดยแบ่งหุ้นออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

  • กล่มที่มีอัตรากการเติบโตและเป็นที่นิยม (Highly Recognized Growth : HRG )
  • กลุ่มที่มีอัตราการเติบโต  แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม (Less Recognized Growth : LRG)
  • กลุ่มที่มีอัตราการเติบโตปานกลาง (Moderate Growth : MG)
  • กลุ่มที่อัตราการเติบโตตามภาวะเศรษฐกิจ  หรือ หุ้นวัฏจักร (Cyclical Growth : CG)

         จอห์น  เนฟฟ์  แนะนำว่า “หุ้นกลุ่ม HRG” มักมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงผู้บริโภครู้จักและจำชื่อสินค้าของบริษัทเหล่านี้ได้ดี  บริษัทมีอัตราการเติบโตของผลประกอบการและกำไรสูง  มีความมั่นคง มัำเป็นผู้นำตลาด นักลงทุนส่วนใหญ่ต่างต้องการเป็นเจ้าของหุ้น HRG เกือบทั้งนั้น  ความนิยมทำให้ราคาหุ้นกลุ่มนี้มักอยู่ในกลุ่มดัชนีหุ้นชั้นนำของตลาด และราคาก็มักสูง (ทำให้ P/E สูงด้วย) นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ให้ฉายาหุ้น HRG ว่า “One-dicision Stock” คือ ให้ซื้อและถือตลอดไป  โดยมีสมมติฐานว่า  บริษัท HRG เหล่านี้มีการเติบโตของกำไรอย่างไม่จำกัด  ในขณะที่จำนวนหุ้นมีจำกัด  นักลงทุนส่วนใหญ่จึงเชื่อว่า  ราคาคงจะเพิ่มไปอย่างต่อเนื่อง  ซึ่งจะเกิดอย่างนี้ได้ต้องมีนักลงทุนหน้าใหม่ที่เชื่อคนง่ายเข้ามาในตลาดเพิ่มขึ้นโดยไม่มีขีดจำกัดเช่นกัน  จอห์น  เนฟฟ์ ยกตัวอย่างหุ้นในดัชนี Nifty Fifty ซึ่งมี P/E สูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่หุ้น P/E ต่ำ  ไม่มีใครสนใจเลยจนหว่าจะเกิดความตกต่ำในตลาดหุ้น  ผู้คนที่บาดเจ็บจากหุ้น HRG จึงจะหันมาสนใจหุ้น P/E ต่ำ  ที่มีการเติบโตของกำไรดี แต่ไม่มีใครสนใจ (LPG) อย่างไรก็ดีกองทุน Windsor ก็ลงทุนในกลุ่ม HRG บ้าง โดยมีสัดส่วนประมาณ 8-9% ของมูลค่าการลงทุน

       ถัดมาเป็น “หุ้นกลุ่ม LRG” โดยจอห์น  เนฟฟ์  แนะนำว่า  ขณะที่คนสนใจแต่หุ้น HRG ทำให้เรามีตัวเลือกมากมาย  สำหรับพอร์ตการลงทุน P/E ต่ำของเราที่จริงแล้วบริษัทเหล่านี้มีอัตราการเติบโตของกำไรดีไม่น้อยกว่าของกลุ่ม HRG เพียงแต่ขาดวิสัยทัศน์  และขนาดไม่ใหญ่พอที่จะทำให้เกิดความสนใจในบางช่วงของการลงทุน  สัดส่วนการลงทุนในหุ้น LRG ของกองทุน Windsor สูงถึง 33% โดยสัดส่วนที่เหมาะสมที่ จอห์น  เนฟฟ์ แนะนำไว้อยู่ที่ประมาณ 25 %

       ส่วน “หุ้นกลุ่ม MG” จอห์น  เนฟฟ์ อธิบายว่า  เป็นหุ้นที่มีจำนวนมากที่สุดในตลาด  แต่ด้วยผลการดำเนินงานที่ไม่ค่อยโดดเด่น  นักลงทุนจึงไม่นิยมลงทุนและ P/E ก็มักจะต่ำ  ถ้าสามารถวิเคราะห์ค้นหาหุ้นที่มีพื้นฐานดี และมีอนาคต P/E ของหุ้นกลุ่มนี้สามารถปรับเพิ่มขึ้น  และจำทำให้เกิดกำไรมา  ซึ่งกองทุน Windsor ลงทุนในกลุ่มนี้ ประมาณ 50% ของพอร์ตทั้งหมด

      สุดท้าย คือ “หุ้นกลุ่ม CG” จะมีการเติบโตของกำไรในอัตราเฉลี่ย  โดยในช่วงเศรษฐกิจขาขึ้น  การเติบโตของกำไรจะสูงกว่าค่าเฉลี่ย  แต่ในช่วงวัฏจักรขาลง  กำไรจะเติบโตน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของตลาด P/E ของหุ้นกลุ่มนี้จะผันผวนขึ้นๆ ลงๆ ซึ่งบริษัทที่ดีในกลุ่ม CG และมี P/E ต่ำ ก็ยังมีให้คัดเลือกอยู่เสมอ  ดังนั้น  กลยุทธ์การซื้อและขายหุ้นกลุ่มนี้จึงมีความสำคัญมาก

       กองทุน Windsor จะเข้าซื้อหุ้นกลุ่มนี้ก่อนที่กำไรจะปรับตัวเพิ่มขึ้น 6-9 เดือน และขายเมื่อมีสัญญานว่า ความต้องการในสินค้าและบริการของบริษัทเหล่านี้มีการขยายตัวอย่างชัดเจน  เช่น  ดูจากการเพิ่มขึ้นของยอดขายและกำไรโดยเฉลี่ยแล้ว  กองทุน Windsor จะมีหุ้นวัฏจักรอยู่ประมาณ 30%

เทคนิคการกำหนดจำนวนหุ้นในพอร์ต 

           ในขณะที่กองทุน Windsor บริหารเงินทุน 11 พันล้านเหรียฐ กองทุนนี้ลงทุนในหุ้นเพียง 60 บริษัท และ 40% ของเงินกองทุน ลงทุนในหุ้นเพียง 10 บริษัทเท่านั้น และเมื่อเจาะลึกลงไป 25% ของมูลค่าเงินลงทุน  ลงในบริษัทน้ำมันเพียง 3 แห่งเท่านั้น ดังนั้น จึงไม่จำเป็นที่จะต้องให้พอร์ตมีจำนวนหุ้นมากเกินไป

เทคนิคการวิเคราะห์หุ้น

            นักลงทุนมักจะสับสนว่า  ควรเลือกใช้วิธี Top-down คือ วิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจากเศรษฐกิจ  อุตสาหกรรม  ลงไปหาตัวบริษัท หรือจะใช้วิธี Bottom-up คือ วิเคราะห์ที่บริษัทก่อน แล้วค่อยดูว่าบริษัทที่ดีเหล่านี้มีปัจจัยแวดล้อมด้านอุตสาหกรรม  เศรษฐกิจ  สนับสนุนหรือไม่ จอห์น เนฟฟ์ ให้ความเห็นว่าจะใช้วิธีอะไรก็ได้  จะดูอะไรก่อนหลังก่อนก็ได้  แต่ต้องดูควบคู่กันไป

เทคนิคการสร้างฐานข้อมูลเพื่อติดตามและตัดสินใจ

           ในการสร้างและบริหารพอร์ต P/E ต่ำ จอห์น  เนฟฟ์ สร้าง Fact Sheet เพื่อช่วยวิเคราะห์และติดตามหุ้นอย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่เขาสนใจ  ได้แก่ จำนวนหุ้นที่ลงทุน  ต้นทุนเฉลี่ย  ราคาปัจจุบัน  กำไรต่อหุ้น  และประมาณการอัตราการเติบโตทั้งในอดีตและที่คาดการณ์ P/E ในอดีตและที่คาดการณ์ผลตอบแทนจากเงินปันผล (Yield) ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ราคาเป้าหมายบนพื้นฐานของกำไรที่คาดการณ์ P/E เป้าหมาย  ตลอดจนโอกาสและศักยภาพที่ราคาจะปรับตัวสูงขึ้น  ซึ่งข้อมูลหลายตัวข้างต้น เป็นข้อมูลที่หาได้ง่าย  เพราะมีการเปิดเผยต่อสาธารณะอยู่แล้ว

เทคนิคการขายหุ้นจากพอร์ต

           จอห์น  เนฟฟ์  กำหนดลักษณะของการขายหุ้นออกจากพอร์ต  ดังนี้ 
  • ปัจจัยพื้นฐานแย่ลง
  • ราคาเท่ากับราคาเป้าหมายที่กำหนด

          การลดลงหรือแย่ลงของปัจจัยพื้นฐานจะพิจารณาจากเกณฑ์ 2 ประการ คือ “กำไรที่คาดการณ์”  และ “อัตราการเติบโต 5 ปี” หากเราไม่มั่นใจในปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้  ให้ขายหุ้นออกทันที  อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าปัจจัยพื้นฐานยังดีแต่ถ้าราคาหุ้นสูงขึ้นไปเท่ากับราคาเป้าหมายที่ตั้งไว้  ก็สามารถขายหุ้นจากพอร์ต  เพื่อนำรายได้และกำไรมาลงทุนกับหุ้นตัวใหม่ตามเกณฑ์ที่กำหนดต่อไป ( Reinvestment ) โดยเฉลี่ยแล้วถ้าปัจจัยพื้นฐานของหุ้นยังดี  กองทุน Windsor สามารถถือหุ้นไปนานถึง 3-5 ปี โดยอาจแบ่งขายทำกำไรบ้างระหว่างช่วงเวลาลงทุน จอห์น เนฟฟ์ เตือนว่าการถือหุ้นนานเกินไป  ก็อาจเป็นปัญหาได้ เพราะอาจเกิดสถานการณ์ “ตกหลุมรัก” หุ้นในพอร์ตจนลืมจังหวะการขายออก เพื่อทำกำไรในช่วงเวลาที่เหมาะสม  จงจำไว้ว่า “หุ้นทุกตัวที่เราเป็นเจ้าของ  มีไว้เพื่อขายทั้งสิ้น” และ “ไม่จำเป็นต้องซื้อและถือหุ้นตลอดไป”


        ฝากทิ้งท้ายไว้สักนิดว่า  การลงทุนในหุ้นแบบ P/E ต่ำ เป็นกลยุทธ์การลงทุนชนิดหนึ่ง  ซึ่งมีลักษณะค่อนข้างอนุรักษ์นิยม  ไม่หวือหวา  จอห์น  เนฟฟ์ เองก็เห็นว่าหลักการดังกล่าวนี้เป็นการกระทำซ้ำๆ คงเส้นคงว่า  สิ่งที่เหมือนกับการวิเคราะห์หลักทรัพย์ในกลยุทธ์อื่นๆ ก็คือ “การค้นหาหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานดี” แต่สิ่งที่ต่างจากคนอื่นก็คือ “พยายามค้นหาของดี  ราคาถูก” และ “เป็นของที่คาดการณ์แล้วว่าจะมีการเติบโตของกำไรที่ดีอย่างต่อเนื่อง” จนส่งผลในทางบวกต่อผลตอบแทนจากการลงทุนในอนาคต  หากท่านนักลงทุนอ่านแล้วคิดว่าชอบสไตล์การลงทุนแบบนี้  ลองนำหลักการไปสร้างและบริหารพอร์ตลงทุนด้วยตนเองได้เลยคับ  ขอให้ทุกท่านโชคดีคับ

เทคนิคในการบริหารพอร์ตหุ้นที่มี P/E ต่ำ แบบจอห์น เนฟฟ์ ( john neff )

           แม้เราจะได้เรียนรู้คุณลักษณะของหุ้น P/E ในแบบของ  จอห์น  เนฟฟ์ซึ่งมีประโยชน์ในการคัดเลือกหุ้นเข้าพอร์ตโฟลิโอมาแล้ว  แต่การบริหารพอร์ตโฟลิโอไม่ได้มีเฉพาะการคัดเลือกหุ้นเท่านั้น  แต่ยังรวมถึงการติดตาม  ปรับพอร์ตเอาหุ้นเดิมที่ไม่เป็นไปตามคุณสมบัติออกไป  เอาหุ้นใหม่ที่เหมาะสมกว่าเข้ามาโดย โดย จอห์น  เนฟฟ์  ได้แนะนำเทคนิคในการบริหารพอร์ตเพิ่มเติมไว้ดังนี้

เทคนิคการจัดกลุ่มหุ้นแบบ Measured  Participation

        จอห็น  เนฟฟ์  ได้เสนอมิติการแบ่งกลุ่มหุ้นโดยไม่สนใจประเภทอุตสาหกรรม  แต่แบ่งตามการเติบโตของกำไร  โดยแบ่งหุ้นออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

  • กล่มที่มีอัตรากการเติบโตและเป็นที่นิยม (Highly Recognized Growth : HRG )
  • กลุ่มที่มีอัตราการเติบโต  แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม (Less Recognized Growth : LRG)
  • กลุ่มที่มีอัตราการเติบโตปานกลาง (Moderate Growth : MG)
  • กลุ่มที่อัตราการเติบโตตามภาวะเศรษฐกิจ  หรือ หุ้นวัฏจักร (Cyclical Growth : CG)

         จอห์น  เนฟฟ์  แนะนำว่า “หุ้นกลุ่ม HRG” มักมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงผู้บริโภครู้จักและจำชื่อสินค้าของบริษัทเหล่านี้ได้ดี  บริษัทมีอัตราการเติบโตของผลประกอบการและกำไรสูง  มีความมั่นคง มัำเป็นผู้นำตลาด นักลงทุนส่วนใหญ่ต่างต้องการเป็นเจ้าของหุ้น HRG เกือบทั้งนั้น  ความนิยมทำให้ราคาหุ้นกลุ่มนี้มักอยู่ในกลุ่มดัชนีหุ้นชั้นนำของตลาด และราคาก็มักสูง (ทำให้ P/E สูงด้วย) นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ให้ฉายาหุ้น HRG ว่า “One-dicision Stock” คือ ให้ซื้อและถือตลอดไป  โดยมีสมมติฐานว่า  บริษัท HRG เหล่านี้มีการเติบโตของกำไรอย่างไม่จำกัด  ในขณะที่จำนวนหุ้นมีจำกัด  นักลงทุนส่วนใหญ่จึงเชื่อว่า  ราคาคงจะเพิ่มไปอย่างต่อเนื่อง  ซึ่งจะเกิดอย่างนี้ได้ต้องมีนักลงทุนหน้าใหม่ที่เชื่อคนง่ายเข้ามาในตลาดเพิ่มขึ้นโดยไม่มีขีดจำกัดเช่นกัน  จอห์น  เนฟฟ์ ยกตัวอย่างหุ้นในดัชนี Nifty Fifty ซึ่งมี P/E สูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่หุ้น P/E ต่ำ  ไม่มีใครสนใจเลยจนหว่าจะเกิดความตกต่ำในตลาดหุ้น  ผู้คนที่บาดเจ็บจากหุ้น HRG จึงจะหันมาสนใจหุ้น P/E ต่ำ  ที่มีการเติบโตของกำไรดี แต่ไม่มีใครสนใจ (LPG) อย่างไรก็ดีกองทุน Windsor ก็ลงทุนในกลุ่ม HRG บ้าง โดยมีสัดส่วนประมาณ 8-9% ของมูลค่าการลงทุน

       ถัดมาเป็น “หุ้นกลุ่ม LRG” โดยจอห์น  เนฟฟ์  แนะนำว่า  ขณะที่คนสนใจแต่หุ้น HRG ทำให้เรามีตัวเลือกมากมาย  สำหรับพอร์ตการลงทุน P/E ต่ำของเราที่จริงแล้วบริษัทเหล่านี้มีอัตราการเติบโตของกำไรดีไม่น้อยกว่าของกลุ่ม HRG เพียงแต่ขาดวิสัยทัศน์  และขนาดไม่ใหญ่พอที่จะทำให้เกิดความสนใจในบางช่วงของการลงทุน  สัดส่วนการลงทุนในหุ้น LRG ของกองทุน Windsor สูงถึง 33% โดยสัดส่วนที่เหมาะสมที่ จอห์น  เนฟฟ์ แนะนำไว้อยู่ที่ประมาณ 25 %

       ส่วน “หุ้นกลุ่ม MG” จอห์น  เนฟฟ์ อธิบายว่า  เป็นหุ้นที่มีจำนวนมากที่สุดในตลาด  แต่ด้วยผลการดำเนินงานที่ไม่ค่อยโดดเด่น  นักลงทุนจึงไม่นิยมลงทุนและ P/E ก็มักจะต่ำ  ถ้าสามารถวิเคราะห์ค้นหาหุ้นที่มีพื้นฐานดี และมีอนาคต P/E ของหุ้นกลุ่มนี้สามารถปรับเพิ่มขึ้น  และจำทำให้เกิดกำไรมา  ซึ่งกองทุน Windsor ลงทุนในกลุ่มนี้ ประมาณ 50% ของพอร์ตทั้งหมด

      สุดท้าย คือ “หุ้นกลุ่ม CG” จะมีการเติบโตของกำไรในอัตราเฉลี่ย  โดยในช่วงเศรษฐกิจขาขึ้น  การเติบโตของกำไรจะสูงกว่าค่าเฉลี่ย  แต่ในช่วงวัฏจักรขาลง  กำไรจะเติบโตน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของตลาด P/E ของหุ้นกลุ่มนี้จะผันผวนขึ้นๆ ลงๆ ซึ่งบริษัทที่ดีในกลุ่ม CG และมี P/E ต่ำ ก็ยังมีให้คัดเลือกอยู่เสมอ  ดังนั้น  กลยุทธ์การซื้อและขายหุ้นกลุ่มนี้จึงมีความสำคัญมาก

       กองทุน Windsor จะเข้าซื้อหุ้นกลุ่มนี้ก่อนที่กำไรจะปรับตัวเพิ่มขึ้น 6-9 เดือน และขายเมื่อมีสัญญานว่า ความต้องการในสินค้าและบริการของบริษัทเหล่านี้มีการขยายตัวอย่างชัดเจน  เช่น  ดูจากการเพิ่มขึ้นของยอดขายและกำไรโดยเฉลี่ยแล้ว  กองทุน Windsor จะมีหุ้นวัฏจักรอยู่ประมาณ 30%

เทคนิคการกำหนดจำนวนหุ้นในพอร์ต 

           ในขณะที่กองทุน Windsor บริหารเงินทุน 11 พันล้านเหรียฐ กองทุนนี้ลงทุนในหุ้นเพียง 60 บริษัท และ 40% ของเงินกองทุน ลงทุนในหุ้นเพียง 10 บริษัทเท่านั้น และเมื่อเจาะลึกลงไป 25% ของมูลค่าเงินลงทุน  ลงในบริษัทน้ำมันเพียง 3 แห่งเท่านั้น ดังนั้น จึงไม่จำเป็นที่จะต้องให้พอร์ตมีจำนวนหุ้นมากเกินไป

เทคนิคการวิเคราะห์หุ้น

            นักลงทุนมักจะสับสนว่า  ควรเลือกใช้วิธี Top-down คือ วิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจากเศรษฐกิจ  อุตสาหกรรม  ลงไปหาตัวบริษัท หรือจะใช้วิธี Bottom-up คือ วิเคราะห์ที่บริษัทก่อน แล้วค่อยดูว่าบริษัทที่ดีเหล่านี้มีปัจจัยแวดล้อมด้านอุตสาหกรรม  เศรษฐกิจ  สนับสนุนหรือไม่ จอห์น เนฟฟ์ ให้ความเห็นว่าจะใช้วิธีอะไรก็ได้  จะดูอะไรก่อนหลังก่อนก็ได้  แต่ต้องดูควบคู่กันไป

เทคนิคการสร้างฐานข้อมูลเพื่อติดตามและตัดสินใจ

           ในการสร้างและบริหารพอร์ต P/E ต่ำ จอห์น  เนฟฟ์ สร้าง Fact Sheet เพื่อช่วยวิเคราะห์และติดตามหุ้นอย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่เขาสนใจ  ได้แก่ จำนวนหุ้นที่ลงทุน  ต้นทุนเฉลี่ย  ราคาปัจจุบัน  กำไรต่อหุ้น  และประมาณการอัตราการเติบโตทั้งในอดีตและที่คาดการณ์ P/E ในอดีตและที่คาดการณ์ผลตอบแทนจากเงินปันผล (Yield) ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ราคาเป้าหมายบนพื้นฐานของกำไรที่คาดการณ์ P/E เป้าหมาย  ตลอดจนโอกาสและศักยภาพที่ราคาจะปรับตัวสูงขึ้น  ซึ่งข้อมูลหลายตัวข้างต้น เป็นข้อมูลที่หาได้ง่าย  เพราะมีการเปิดเผยต่อสาธารณะอยู่แล้ว

เทคนิคการขายหุ้นจากพอร์ต

           จอห์น  เนฟฟ์  กำหนดลักษณะของการขายหุ้นออกจากพอร์ต  ดังนี้ 
  • ปัจจัยพื้นฐานแย่ลง
  • ราคาเท่ากับราคาเป้าหมายที่กำหนด

          การลดลงหรือแย่ลงของปัจจัยพื้นฐานจะพิจารณาจากเกณฑ์ 2 ประการ คือ “กำไรที่คาดการณ์”  และ “อัตราการเติบโต 5 ปี” หากเราไม่มั่นใจในปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้  ให้ขายหุ้นออกทันที  อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าปัจจัยพื้นฐานยังดีแต่ถ้าราคาหุ้นสูงขึ้นไปเท่ากับราคาเป้าหมายที่ตั้งไว้  ก็สามารถขายหุ้นจากพอร์ต  เพื่อนำรายได้และกำไรมาลงทุนกับหุ้นตัวใหม่ตามเกณฑ์ที่กำหนดต่อไป ( Reinvestment ) โดยเฉลี่ยแล้วถ้าปัจจัยพื้นฐานของหุ้นยังดี  กองทุน Windsor สามารถถือหุ้นไปนานถึง 3-5 ปี โดยอาจแบ่งขายทำกำไรบ้างระหว่างช่วงเวลาลงทุน จอห์น เนฟฟ์ เตือนว่าการถือหุ้นนานเกินไป  ก็อาจเป็นปัญหาได้ เพราะอาจเกิดสถานการณ์ “ตกหลุมรัก” หุ้นในพอร์ตจนลืมจังหวะการขายออก เพื่อทำกำไรในช่วงเวลาที่เหมาะสม  จงจำไว้ว่า “หุ้นทุกตัวที่เราเป็นเจ้าของ  มีไว้เพื่อขายทั้งสิ้น” และ “ไม่จำเป็นต้องซื้อและถือหุ้นตลอดไป”


        ฝากทิ้งท้ายไว้สักนิดว่า  การลงทุนในหุ้นแบบ P/E ต่ำ เป็นกลยุทธ์การลงทุนชนิดหนึ่ง  ซึ่งมีลักษณะค่อนข้างอนุรักษ์นิยม  ไม่หวือหวา  จอห์น  เนฟฟ์ เองก็เห็นว่าหลักการดังกล่าวนี้เป็นการกระทำซ้ำๆ คงเส้นคงว่า  สิ่งที่เหมือนกับการวิเคราะห์หลักทรัพย์ในกลยุทธ์อื่นๆ ก็คือ “การค้นหาหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานดี” แต่สิ่งที่ต่างจากคนอื่นก็คือ “พยายามค้นหาของดี  ราคาถูก” และ “เป็นของที่คาดการณ์แล้วว่าจะมีการเติบโตของกำไรที่ดีอย่างต่อเนื่อง” จนส่งผลในทางบวกต่อผลตอบแทนจากการลงทุนในอนาคต  หากท่านนักลงทุนอ่านแล้วคิดว่าชอบสไตล์การลงทุนแบบนี้  ลองนำหลักการไปสร้างและบริหารพอร์ตลงทุนด้วยตนเองได้เลยคับ  ขอให้ทุกท่านโชคดีคับ